วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2552

เร้าเตอร์


เร้าเตอร์ ( Router)

เร้าเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่าบริดจ์ ทำหน้าที่เชื่อมต่อ LAN หลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกันคล้ายกับสวิตช์แต่จะมีส่วนเพิ่มเติมขึ้นมาคือ เราเตอร์สามารเชื่อมต่อ LAN ที่ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน แต่ใช้สื่อส่งข้อมูลหรือสายส่งต่างชนิดกันได้ เช่น เชื่อมต่อ Ethernet LAN ที่ใช้รับส่งข้อมูลแบบ UTP เข้ากับ Ethernet อีกเครือข่ายหนึ่งที่ใช้สายข้อมูลแบบ coaxial cable ได้
เร้าเตอร์ทำงานเสมือนเป็นเครื่องหรือโหนดหนึ่งใน LAN ซึ่งจะทำการรับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง โดยอาจส่งในรูปแบบของ packet ที่ต่างออกไปจากเดิม เพื่อไปผ่านสายสัญญาณแบบอื่น ๆ เช่น สายโทรศัพท์ที่ต่อผ่านโมเด็มก็ได้ ดังนั้นเราจึงอาจใช้เราเตอร์เพื่อเชื่อมต่อ LAN หลาย ๆ แบบเข้าด้วยกันได้ด้วย และจากการที่มันทำตัวเสมือนเป็นโหนด ๆ หนึ่งใน LAN ทำให้เราเตอร์สามารถทำงานอื่น ๆ อีกมาก เช่น รวบรวมข้อมูลเพื่อหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งข้อมูลต่อ หรือตรวจสอบว่าข้อมูลที่เข้ามานั้นมาจากไหน ควรจะให้ผ่านหรือไม่ เพื่อช่วยในเรื่องการรักษาความปลอดภัยด้วย
สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างบริดจ์กับเราเตอร์คือ เราเตอร์มีการทำงานที่สูงกว่าคือ ในระดับชั้นที่ 3 ของ โมเดล OSI นั่นคือคือ Network Layer โดยจะใช้ logical address หรือ Network Layer address ซึ่งเป็นที่อยู่ซึ่งตั้งโดยซอฟต์แวร์ที่ผู้ใช้แต่ละเครื่องจะตั้งขึ้นให้โปรโตคอลในระดับ Network Layer รู้จัก
หน้าที่หลักของเราเตอร์คือ การหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งผ่านข้อมูล และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น โดยในแต่ละเครือข่ายจะมีรูป แบบของ packet ที่แตกต่างกันตามโปรโตคอลที่ทำงานในระดับบน (ตั้งแต่เลเยอร์ที่ 3 ขึ้นไป) เช่น IP, IPX หรือ AppleTalk


เมื่อมีการส่งข้อมูลก็จะบรรจุข้อมูลนั้นเป็น packet ในรูปแบบของเลเยอร์ที่ 2 เมื่อเราเตอร์ได้รับข้อมูลก็จะตรวจดูใน packet นี้เพื่อจะทราบว่าใช้โปรโตคอลแบบใด ซึ่งเราเตอร์จะเข้าใจโปรโตคอลต่าง ๆ แล้ว จากนั้นก็จะตรวจดูเส้นทางส่งข้อมูลจากตาราง routing table ว่าจะต้องส่งข้อมูลนี้ไปยังเครือข่ายใดต่อจึงจะถึงปลายทางได้ แล้วจึงบรรจุข้อมูลลงเป็น packet ตามรูปแบบของเลเยอร์ที่ 2 อีกครั้งเพื่อส่งต่อไปยังเครือข่ายถัดไป


ข้อดีของการใช้เราเตอร์
1. ในการใช้เราเตอร์เชื่อมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกัน ปริมาณการส่งข้อมูลของแต่ละเครือข่ายย่อยจะแยกจากกันโดยเด็ดขาด นั่นคือปริมาณการไหลเวียนของข้อมูลในเครือข่าย LAN หนึ่งจะไม่รบกวนการไหลเวียนข้อมูลของอีกเครือข่าย LAN หนึ่ง
2. มีความคล่องตัวในการทำงานสูง เนื่องจากสามารถทำงานร่วมกับโทโพโลยีได้ทุกชนิด
3. สามารถกำหนดความสำคัญในการส่งข้อมูลได้ เช่น สามารถกำหนดได้ว่าหากข้อมูลที่ส่งไปอยู่ในรูปแบบของโปรโตคอลที่มีลำดับความสำคัญสูง ก็สามารถลัดคิวส่งออกไปได้ก่อน
4. การปิดกั้นเครือข่าย หรือแยกเครือข่ายออกจากเครือข่ายที่ไม่ต้องการจะติดต่อด้วย ซึ่งเป็นการรักษาความปลอดภัยวิธีหนึ่ง
5. การเลือกเส้นทางในการที่จะส่งข้อมูล สามารถใช้เราเตอร์ช่วยในการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด

ข้อเสีย
1. เราเตอร์ทำงานภายใต้ OSI เท่านั้น และจะไม่ติดต่อหรือส่งข้อมูลในรูปแบบของโปรโตคอลที่ไม่รู้จัก

ข้อสอบ เรื่องเร้าเตอร์

ข้อสอบ
เร้าเตอร์ (router) จำนวน 20ข้อ
ข้อสอบเร้าเตอร์ อัตนัย (จำนวน 10 ข้อ)

1.จงบอกความหมายของ ரௌடேர்
เฉลย เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มากโดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่าย
2.อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงเครือข่ายหลักทั้ง LAN และ WAN ประกอบด้วยอะไร

เฉลย 1.บริดจ์ (Bridge) 2.เราเตอร์ (Router) 3.สวิตช์ (Switch)
3. ADSL Router คืออุปกรณ์อะไร

เฉลย อุปกรณ์เชื่อมต่อ ADSL มีคุณสมบัติในการแชร์อินเทอร์เน็ตภายในองค์กร เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่ายสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ เราเตอร์มาพร้อมกับพอร์ต RJ45 ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์เครือข่ายเช่น HUB หรือ SWITCH
4.หน้าที่ของเราเตอร์คืออะไร

เฉลย หน้าที่ของเราเตอร์คือ จัดแบ่งเครือข่ายและเลือกเส้นทางที่เหมาะสมเพื่อนำส่งแพ็กเก็ต เราเตอร์จะป้องกันการบรอดคาสต์แพ็กเก็ตจากเครือข่ายหนึ่งไม่ให้ข้ามมายังอีกเครือข่ายหนึ่ง
5.เมื่อเราเตอร์รับข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตเข้ามาตรวจสอบแอดเดรสปลายทางแล้ว เราเตอร์จะนำม เปรียบเทียบกับอะไรและส่งต่อไปที่ไหน

เฉลย เมื่อเราเตอร์รับข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตเข้ามาตรวจสอบแอดเดรสปลายทางแล้ว จากนั้นนำมาเปรียบเทียบกับตารางเส้นทางที่ได้รับการโปรแกรมไว้ เพื่อหาเส้นทางที่ส่งต่อ หากเส้นทาง ที่ส่งมาจากอีเทอร์เน็ต และส่งต่อออกช่องทางของ Port WAN ที่เป็นแบบจุดไปจุดก็จะมีการปรับปรุงรูปแบบสัญญาณให้เข้ากับมาตรฐานใหม่ เพื่อส่งไปยังเครือข่าย WAN ได้
6.สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล (Data Switched Packet)ทำหน้าที่อะไร

เฉลย สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล (Data Switched Packet)ทำหน้าที่คัดแยกแพ็กเก็ต
7.ข้อดีของไฟร์วอลล์ เราเตอร์คืออะไร

เฉลย มีประสิทธิภาพสูงมีจำนวนอินเตอร์เฟสมาก
8.เราเตอร์มีลักษณะการใช้งานคล้ายกับอะไร

เฉลย สวิตช์ (Switch)
9. Router อยู่ใน Layer (OSI Protocol Stack)อะไร

เฉลย Network Layer
10.เมื่อต้องการดูค่า routing ควรใช้คำสั่งอะไร

เฉลย show ip ரூட்

ข้อสอบ เราเตอร์ ( Router) (ปรนัย10 ข้อ)
1. หน้าที่หลักของเราเตอร์คือ

ก. การหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งผ่านข้อมูล และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูล
ข.การส่งข้อมูล
ค. การรับข้อมูล
ง. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข
เฉลย ก. การหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งผ่านข้อมูล และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูล
คำอธิบาย เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่าบริดจ์ ทำหน้าที่เชื่อมต่อ LAN หลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกันคล้ายกับสวิตช์แต่จะมีส่วนเพิ่มเติมขึ้นมาคือ เราเตอร์สามารเชื่อมต่อ LAN ที่ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน แต่ใช้สื่อส่งข้อมูลหรือสายส่งต่างชนิดกันได้ เช่น เชื่อมต่อ Ethernet LAN ที่ใช้รับส่งข้อมูลแบบ UTP เข้ากับ Ethernet อีกเครือข่ายหนึ่งที่ใช้สายข้อมูลแบบ coaxial cable ได้ เราเตอร์ทำงานเสมือนเป็นเครื่องหรือโหนดหนึ่งใน LAN ซึ่งจะทำการรับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง โดยอาจส่งในรูปแบบของ packet ที่ต่างออกไปจากเดิม เพื่อไปผ่านสายสัญญาณแบบอื่น ๆ เช่น สายโทรศัพท์ที่ต่อผ่านโมเด็มก็ได้ ดังนั้นเราจึงอาจใช้เราเตอร์เพื่อเชื่อมต่อ LAN หลาย ๆ แบบเข้าด้วยกันได้ด้วย และจากการที่มันทำตัวเสมือนเป็นโหนด ๆ หนึ่งใน LAN ทำให้เราเตอร์สามารถทำงานอื่น ๆ อีกมาก เช่น รวบรวมข้อมูลเพื่อหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งข้อมูลต่อ หรือตรวจสอบว่าข้อมูลที่เข้ามานั้นมาจากไหน ควรจะให้ผ่านหรือไม่ เพื่อช่วยในเรื่องการรักษาความปลอดภัยด้วย

2. ข้อดีของการใช้เราเตอร์ คือ
ก. ในการใช้เราเตอร์เชื่อมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกัน ปริมาณการส่งข้อมูลของแต่ละเครือข่ายย่อยจะแยกจากกันโดยเด็ดขาด
ข.มีความคล่องตัว
ค.การปิดกั้นเครือข่าย
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
คำอธิบาย ข้อดีของเร้าเตอร์
1.ในการใช้เราเตอร์เชื่อมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกัน ปริมาณการส่งข้อมูลของแต่ละเครือข่ายย่อยจะแยกจากกันโดยเด็ดขาด
2.มีความคล่องตัว
3.การปิดกั้นเครือข่าย
3. Router ทำหน้าที่คล้ายกับอุปกรณ์ใด
ก. ฮับ
ข.โมเด็ม
ค.บริดจ์
ง.คอมพิวเตอร์
เฉลย ค.บริดจ์

คำอธิบาย เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น .

4. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมโยงเครือข่าย
ก.บริดจ์ (Bridge)
ข. เราเตอร์ (Router)
ค.สวิตช์ (Switch)
ง.แลนด์ (Lan)
เฉลย ง.แลนด์ (Lan)
คำอธิบาย ลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันทั้งหมด จึงมีการแบ่งแยกเครือข่ายเป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายภายในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน เรียกว่า LAN (Local Area Network) และการเชื่อมโยงระยะไกล ที่เรียกว่า WAN (Wide Area Network)
เครือข่าย LAN เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงกันในพื้นที่ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน สามารถ ดูแลได้เอง การเชื่อมโยงเครือข่าย LAN ที่นิยมใช้กันมี 2 รูปแบบดังนี้
เครือข่าย LAN แบบอีเทอร์เน็ต มีการรับส่งข้อมูลด้วยความเร็ว 10-100 Mbps. มีพื้นฐานรูปแบบการเชื่อมโยงร่วมกันแบบบัส คือ ทุกอุปกรณ์จะเชื่อมต่อกันบนสายสัญญาณเส้นเดียว ดังนั้นการรับส่งต้องมีการจัดการไม่ให้รับส่งพร้อมกันเกินกว่าหนึ่งคู่ ขบวนการรับส่งข้อมูลจึงถูกกำหนดขึ้น โดยให้อุปกรณ์ที่จะส่งข้อมูลตรวจสอบว่ามีข้อมูลใดวิ่งอยู่บนสายหรือไม่ หากไม่มีจึงส่งได้ และถ้ามีการชนกันของข้อมูลบนสายก็จะส่งใหม่ การหลีกเลี่ยงการชนกันจึงกระทำได้ในเครือข่ายระยะใกล้
เครือข่าย LAN แบบโทเก็นริง มีความเร็ว 16 Mbps. เชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนโดยแพ็กเก็ตข้อมูลจะวิ่งวนในทิศทางใดทางหนึ่ง ถ้ามีแอดเดรสปลายทางเป็นของใคร อุปกรณ์นั้นจะรับข้อมูลไป การจัดการรับส่งข้อมูลในวงแหวนจึงเป็นไปอย่างมีระเบียบ

ครือข่าย LAN ที่อยู่ในมาตรฐานเดียวกันสามารถเชื่อมโยงเข้าหากัน แต่ทุกตัวจะมีแอดเดรสประจำ และแอดเดรสเหล่านี้จะซ้ำกันไม่ได้ โดยปกติผู้ผลิตอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายได้กำหนดแอดเดรสเหล่านี้มาให้แล้ว
เพื่อจะให้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างมาตรฐานกันได้นั้น มีวิธีการพัฒนาให้ระบบสามารถนำแพ็กเก็ต เฉพาะของเครือข่ายมาใส่ในแพ็กเก็ตกลางที่เชื่อมโยงระหว่างกันได้ เช่น TCP/IP ตัวอย่าง เช่น ถ้าต้องการเชื่อมเครือข่าย LAN หลาย ๆ เครือข่ายเข้าด้วยกันให้เป็นเครือข่ายเดียวกัน เครือข่ายอีเทอร์เน็ตมีแพ็กเก็ตเฉพาะเมื่อจะส่งออก ก็นำแพ็กเก็ตเฉพาะมาเปลี่ยนถ่ายลงในแพ็กเก็ต TCP/IP แล้วส่งต่อ.. แพ็กเก็ต TCP/IP จึงเป็นแพ็กเก็ตกลางที่พร้อมรับแพ็กเก็ตย่อยอื่นได้ ดังนั้นการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย เช่น อีเทอร์เน็ตในปัจจุบันจึงเกิดขึ้น

5. ระดับชั้น Network ของเราเตอร์มีกี่ชั้น
ก.5 ชั้น
ข.6 ชั้น
ค.7 ชั้น
ง.8 ชั้น
เฉลย ค.7 ชั้น
คำอธิบาย จุดมุ่งหมายของการกำหนดมาตรฐาน OSI นี้ขึ้นมาก็เพื่อจัดแบ่งการดำเนินงานพื้นฐานของเครือข่ายและกำหนดหน้าที่การทำงานในแต่ละชั้น ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 7 ชั้น โดยหลักเกณฑ์ในการกำหนดมีดังต่อไปนี้

1ไม่แบ่งโครงสร้างออกในแต่ละชั้นจนมากเกินไป
2แต่ละชั้นมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน
3หน้าที่การทำงานคล้ายกันจะถูกจัดให้อยู่ในชั้นเดียวกัน
4เลือกเฉพาะการทำงานที่เคยใช้ได้ผลประสบความสำเร็จมาแล้ว
5กำหนดหน้าที่การทำงานเฉพาะง่ายๆ เผื่อว่ามีการออกแบบหรือเปลี่ยนแปลงใหม่ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์จะได้ไม่ต้องเปลี่ยนแปลงตาม
6มีการกำหนดอินเตอร์เฟซมาตรฐาน
7มีความยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลในแต่ละชั้น


6. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่คัดแยกแพ็กเก็ต หรือเรียอีกอย่างว่าอะไร
ก.เอทีเอ็มสวิตช์(ATM Switch)
ข.เซลสวิตช์" (Cell Switch)
ค.เฟรมรีเลย์" (Frame Relay)
ง.สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล(Data Switched Packet)
เฉลย ง.สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล(Data Switched Packet)
คำอธิบาย เมื่อต้องการเชื่อมเครือข่ายย่อยหลาย ๆ เครือข่ายเข้าด้วยกัน จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ประกอบที่ทำให้การรับส่งข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เชื่อมโยงถึงกัน โดยทั่วไปเรามักใช้ระบบการรับส่งข้อมูลเป็นชุดเล็ก ๆ ที่เรียกว่า แพ็กเก็ต ข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตสามารถเคลื่อนที่จากต้นทางไปยังปลายทางได้ โดยผ่านอุปกรณ์เลือกเส้นทาง การเลือกเส้นทางสามารถเลือกผ่านทั้งทางด้านเครือข่ายแลนและแวน
7. Router ทำหน้าที่อะไร
ก.ใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน
ข.หน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน
ค.ส่งข้อมูล
ง.เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ
เฉลย ข.หน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน
คำอธิบายคำอธิบาย เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่าบริดจ์ ทำหน้าที่เชื่อมต่อ LAN หลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกันคล้ายกับสวิตช์แต่จะมีส่วนเพิ่มเติมขึ้นมาคือ เราเตอร์สามารเชื่อมต่อ LAN ที่ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน แต่ใช้สื่อส่งข้อมูลหรือสายส่งต่างชนิดกันได้ เช่น เชื่อมต่อ Ethernet LAN ที่ใช้รับส่งข้อมูลแบบ UTP เข้ากับ Ethernet อีกเครือข่ายหนึ่งที่ใช้สายข้อมูลแบบ coaxial cable ได้ เราเตอร์ทำงานเสมือนเป็นเครื่องหรือโหนดหนึ่งใน LAN ซึ่งจะทำการรับข้อมูล
เข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง โดยอาจส่งในรูปแบบของ packet ที่ต่างออกไปจากเดิม เพื่อไปผ่านสายสัญญาณแบบอื่น ๆ เช่น สายโทรศัพท์ที่ต่อผ่านโมเด็มก็ได้ ดังนั้นเราจึงอาจใช้เราเตอร์เพื่อเชื่อมต่อ LAN หลาย ๆ แบบเข้าด้วยกันได้ด้วย และจากการที่มันทำตัวเสมือนเป็นโหนด ๆ หนึ่งใน LAN ทำให้เราเตอร์สามารถทำงานอื่น ๆ อีกมาก เช่น รวบรวมข้อมูลเพื่อหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการ

8. ในอินเทอร์เน็ตมักเรียกเราเตอร์ว่าอะไร
ก. ไอพีเราเตอร์ (IP router)
ข. เราเตอร์ (Router)
ค. สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล (Data Switched Packet)
ง. สวิตช์ (Switch)
เฉลย ก. ไอพีเราเตอร์ (IP router)
9. เส้นการเชื่อมโยงของระหว่างเครือข่าย มีชื่อเรียกว่า
ก.Router Table
ข.Router
ค.Bridge
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ก.Router Table
10.อินเทอร์เน็ตมักเรียกเราเตอร์ว่า อะไร
ก. IP Router
ข.IPV
ค.IPV4
ง. IP அட்ரஸ்
เฉลย ก. IP Router

วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ETHERNET IEEE 802

ETHERNET
อัตราความเร็ว 10 Mbpsอัตราความเร็ว 100 Mbpsอัตราความเร็ว 1000 Mbpsอัตราความเร็ว 10 Gbpsบางทีจะเรียกว่า ......... ตามมาตรฐาน IEEE 802।3ซึ่งเรียกว่า Fast Ethernet system ตามมาตรฐาน IEEE 802।3uซึ่งเรียกว่า Gigabit Ethernet system ตามมาตรฐาน IEEE 802।3z/802।3abซึ่งเรืยกว่า Gigabit Ethernet system ตามมาตรฐาน IEEE 802।3aeซึ่งเทคโนโลยีความเร็วดังที่กล่าวมานี้ จะตั้งอยู่บนมาตรฐาน ของ Ethernet แบบเดียวกัน คือ สายที่สามารถใช้ได้ ก็จะเป็นพวกสาย โคแอคเชียล ( Coaxial Cable ) สายแบบ เกลียวคู่ ( Twisted Pair Cable - UTP ) และสายแบบ ใยแก้วนำแสง ( Fiber Optic Cable ) ส่วนโทโปโลยี ที่ใช้ก็จะอยู่ในรูปแบบของ BUS กับ Ring เสียเป็นส่วนใหญ่จากระบบเครือข่ายแบบ Ethernet ที่กล่าวมาทั้งหมด จะมีจุดสำคัญอยู่ที่ ได้นำเอาคุณสมบัติดังที่กล่าวมา มาใช้ มาเชื่อมต่อให้อยู่ในรูปแบบ ที่ต้องการใช้ตามมาตรฐานของ Ethernet ซึ่งจะมีมาตรฐานการเชื่อมต่ออยู่ด้วยกันหลายแบบ มาตรฐานในการเชื่อมต่อ อย่างเช่น 10base2 , 10base5 , 10baseT , 10baseFL , 100baseTX , 100baseT4 และ 100baseFX ซึ่งมาตรฐานรูปแบบนี้ จะขึ้นอยู่กับ ความเร็วในการรับส่งข้อมูล อุปกรณ์ที่ใช้ และ ระยะทางที่สามารถส่งได้ อย่างเช่น 10base2 เป็นมาตรฐานที่ใช้ความเร็ว 10 Mbps ใช้สายแบบ Coaxial แบบบางหรือ เรียกว่า thin Ethernet รูปแบบการเชื่อมต่อ (Topology) เป็นแบบ BUS ระยะทางในการรับส่งข้อมูลประมาณ 185-200 เมตร เป็นต้นETHERNETมาตรฐาน การเชื่อมต่ออัตราความเร็ว การรับส่งข้อมูลระยะความยาว ในการรับส่งข้อมูลTopology ที่ใช้สายที่ใช้ Cableชื่อเรียก10base210 Mbps185 - 200 เมตรBUSThin CoaxialThin Ethernet หรือ Cheapernet10base510 Mbps500 เมตรThick CoaxialThick Ethernet10baseT10 Mbps100 เมตรSTARTwisted Pair (UTP)10baseF10 Mbps2000 เมตรFiberOptic100baseT100 Mbps......... เมตรTwisted Pair (UTP)Fast Ethernet

IEEE 802।1 การบริหารจัดการระบบเครือข่าย
IEEE 802।2 ถูกออกแบบใน LLC ไม่ต้องการให้เครื่องรู้จักกับ MAC sub layer กับ physical
IEEE 802।4 มาตรฐาน
IEEE 802।4 เป็นมาตรฐานกำหนดโปรโตคอลสำหรับเลเยอร์ชั้น மச
IEEE 802।3 สำหรับเป็น โปรโตคอลมาตราฐานเครือข่าย EtherNet ที่มีอัตราเร็วในการส่งข้อมูล 10 Mbps
IEEE 802.5 เครือข่ายที่ใช้โทโปโลยีแบบ Ring
IEEE 802.6 กำหนดมาตรฐานของ MAN ซึ่งข้อมูลในระบบเครือข่ายถูกออกแบบมาให้ใช้งานในระดับเขต และเมือง
IEEE 802.7 ใช้ให้คำปรึกษากับกลุ่มเทคโนโลยีการส่งสัญญาณแบบ ப்ரோஅட்பாந்து
IEEE 802.8 ใช้ให้คำปรึกษากับกลุ่มเทคโนโลยีเคเบิลใยแก้วนำแสง
IEEE 802.9 ใช้กำหนดการรวมเสียงและข้อมูลบนระบบเครือข่ายรองรับ
IEEE 802.10 ใช้กำหนดความปลอดภัยบนระบบเครือข่ายIEEE 802.11 มาตรฐาน IEEE 802.11 และเป็นเทคโนโลยีสำหรับ வலன்
IEEE802.12 ใช้กำหนดลำดับความสำคัญของความต้องการเข้าไปใช้งานระบบเครือข่าย
IEEE 802.14 ใช้กำหนดมาตรฐานของสาย மோடெம்
IEEE 802.15 ใช้กำหนดพื้นที่ของเครือข่ายไร้สายส่วนบุคคล
EEE 802.16 ใช้กำหนดมาตรฐานของ Broadband แบบไร้สาย หรือ WiMAX


IEEE 802.2
เป็นข้อกำหนดเพิ่มเติมที่IEEE สร้างขึ้นในทุกมาตรฐาน 802 คือการแยกระดับชั้น Data link เป็น2ส่วนย่อย คื0 LLC และ MAC- LLC (Logical Link Control) เป็นส่วนเชื่อมต่อกับชั้น Networkอินเทอร์เฟสของ LLC ในเครือข่ายแต่ละชนิด(802.3,802.4,802.5)จะมีรูปแบบเชื่อมต่อกับชั้นNetwork เหมือนกันในการอินเทอร์เฟสกับระดับชั้นNetwork นั้น ระดับชั้น LLC จะให้บริการแก่ระดบชั้น Network 3รูปแบบคือการบริการแบบ Datagram ที่ไม่รับประกันความเชื่อถือของการส่งข้อมูลการบริการแบบDatagram ท่มีการตอบรับจากฝั่งรับ และการบริการแบบ Connection-orientedส่วน MAC (Media Access Control) เป็นส่วนที่เชื่อมต่อกับชั้น Physical ทำหน้าที่ จัดการ access เข้าไปยัง Physical Layer แบ่งเขตให้กับเฟรมข้อมูลและควมคุมความผิดพลาด

IEEE 802.3
มาตรฐาน 802.3 เริ่มต้นมาจากบริษัท Xerox ได้สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ 100สถานีภายใน โดยมีความยาวของเครือข่ายถึง 1กิโลเมตร และอัตราส่งข้อมูลได้ถึง 2.94Mbps ระบบนี้เรียกว่า Ethernet ต่อมา บริษัท Xerox ,Dec และ Intel ได้ร่วมกันพัฒนามาตรฐาน Ethernet ซึ่งมีอัตราส่ง 10 Mbps ซึ่งมาตรฐานนี้เป็นพื้นฐานของIEEE 802.3 IEEE ได้กำหนดมาตรฐาน Ethernet ซึ่งทำงานที่ความเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาที ไว้หลายประเภทตามชนิดสายสัญญาณ ดังตาราง
ชนิด
สายเคเบิล
ความยาวสูงสุดเซกเมนต์
จำนวนโหนดต่อเซกเมนต์
ข้อดี
10Base5(Thick Ethernet )
สายโคแอกเชียลแบบหนา
500 m
100
ใช้เป็นเครือข่ายกระดูกสันหลังภายในตึก
10Base2(Thin Ethenet)
สายโคแอกเชียลแบบบาง
200m
30
ระบบที่ถุกที่สุด
10Base-T
Twisted pair
100m
1024
ง่ายต่อการดูแลรักษา
10Base-F
Fiber optics
2000m
1024
ใช้เชื่องโยงระหว่างตึก
ส่วนมาตรฐานอีเทอร์เน็ทความเร็ว 10เมกะบิตต่อวินาที ที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้แก่ 100Base-TX และ 100Base-FX สำหรับอีเทอร์เทความเร็วสูงแบบกิกะบิตต่อวินาทีเริ่มแพร่หลายมากขึ้น ตัวอย่างของมาตรฐานกิกะบิตอีเทอร์เน็ทในปัจจุนได้แก่ 1000Base-T 1000Base-LX และ 1000Base-SX เป็นต้นอีเทอร์เน็ทที่ใช้ใยแก้วนำแสงมีหลายมาตรฐานย่อยเช่น 10Base-FL (Fiber link) , 10Base-FB (Fiber backbone) และ 10 Base-FP (Passive Fiber)อีเทอร์เน็ทจะใช้โปรโตคอล CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access with Collision Detection) เป็นตัวกำหนดขั้นตอนให้สถานีเข้าใช้สายสัญญาณ ในเครือข่ายอีเทอร์เน็ทมีสถานีจำนวนมากมักพบว่าการทำงานล่าช้า เพราะว่าแต่ละสถานีพยายามยึดช่องสัญญาณเพื่อส่งข้อมูลและเกิดการชนกันตลอดเวลาโดยไม่สามารถ กำหนดได้ว่าสถานีใดจะได้ใช้สายสัญญาณเมื่อใด อีเทอร์เน็ทจึงไม่เหมาะสมกับการใช้งานในระบบเวลาจริง

IEEE 802.4
เมื่อมีการคิดค้นแลนแบบ 802.3ก็มีการใช้แลนแบบนี้มากในสำนักงาน แต่สำหรับโรงงานอัตโนมัติ ไม่อาจใช้แลนแบบนี้ได้เนื่องจากแลน 802.3 ไม่อาจรับประกันได้ว่าในขณะเวลาที่องการส่งข้อมูลนั้นสถานีจะสามารถรับส่งข้มูลได้หรือไม่ เช่น ในการประกอบรถยนต์ เมื่อรถยนต์มาถึงหุ่นยนต์ประกอบรถยนต์แล้วหุนต้องพร้อมที่จะทำงานได้ ดังนั้นจึงมีการคิค้นวิธีการใช้ข้อมูลในสายส่ง ซึ่งแต่ละบอร์ดควมคุมจะสามารถรู้ว่าเวลานานที่สุ ดที่บอร์ดควมคุมจะต้องรอก่อนการส่งข้อมูลได้เป็นเท่าไรIEEE802.4 หรือ โทเค็นบัส มีTopology แบบ Bus เช่นเดียวกับ IEEE802.3 แมีข้อกำหนดการใช้สายสื่อสารโดยใช้ Token ทำหน้าที่เป็นเฟรมสัญญาณกำหนดจังหวะให้สถานีเข้าใช้สายสื่อสารToken จะถูกนำส่งจากสถานีหนึ่งไปยังสถานีหนึ่งและวนกลับที่เดิมเป็นวงรอบ สถานีที่ได้รับ Token จะมีสิทธิใช้สายสื่อสารเพื่อส่งข้อมูลได้ สายสื่อสารในToken Bus มัก ใช้สายโคแอ็กเชียล และมีความเร้วหลายระดับคือ 1,5หรือ10 Mbpsการใช้Token ช่วยให้สถานีไม่ต้องแย่งยึดช่องสัญญาณเหมือนใน IEEE802.3 หากแต่ความซับซ้อนของโปรโตคอลทำให้ IEEE802.4 ไม่เป็นที่นิยมใช้

IEEE 802.5
IEEE802.5 หรือโทเค็นริง หรือมักเรียกว่าIBM Token Ring จัดเป็นเครือข่ายที่ใช้ Ring topology ด้วยสาย Twisted pair หรือ fiber optied อัตราการส่งข้อมูลของ Token Ring ที่ใช้โดยทั่วไปคือ4และ6 MbpsการทำงานของToken Ring จะมีเฟรมพิเศษเรียกว่า โทเค็นว่าง (free Token)วิ่งวนอยู่ในทิศทางเดียวการส่งข้อมูลจะต้องรอให้ Free Token เปลี่ยนมาเป็น เฟรมข้อมูลโดยใส่แฟล็กแสดงเฟรมข้อมูลและบรรจุ Address ชองสถานีต้นทางและสถานีปลายทางตลอดจนข้อมูลอื่นๆจากนั้นสถานีจึงปล่อยเฟรมนี้ออกไป ดังรูป เม่อสถานีปลายทางไว้และปล่อยเฟรมให้วนกลับมายั งสถานีส่ง สถานีส่งจะตรวจสอบและปล่อย Free Token คืนสู่เครือข่ายให้สถานีอื่นมีโอกาสส่งข้อมูล่อไป กลไกแบส่งผ่าน Token จัดอยู่ในประเภทประเมินเวลาได้ กล่าวคือสามารถคำนวณเวลาสูงสุดที่สถานีมีสิทธิใช้Tokenเพื่อส่งข้อมูลได้ Token Ring จึงเหมาะสำหรัระบบที่ต้องการความแน่นอนทางเวลาหรืองานแบบเวลาจริง

การเปรียบเทียบระหว่างแลน 802.2, 802.3, 802.4
โปรโตคอลของแลน 802.3 ไม่ยุ่งยากจึงไม่เหมาะสมกับการใช้ส่งข้อมุลสั้นๆ ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ แต่สถานีใดมีข้อมูลยาวๆที่ต้องการส่ง สถานีนั้นอาจจะยึดครองการใช้สาย ทำให้สถานีอื่นไม่สามารถส่งข้อมูลได้จึงไม่เหมาะกับงานควบคุมหรืองานที่ต้องส่งภายในเวลาที่กำหนดไว้ นอกจากนั้นแลน802.3 ไม่สามารถกำหนดความเร่วด่วนของข้อมูลได้ ข้อเสียอีกอย่างของแลน802.3 คือการกำหนดความยาว ต่ำสุดของเฟรมข้อมูลที่64ไบต์สำหรับแลนแบบ Token Bus และToken Ringไม่เหมาะสำหรับการส่งข้อมูลสั้นๆเนื่องจากต้องเสียเวลาโอเวอร์เฮดของการโทเค็น แต่ก้รับประกันว่าทุกๆสถานีมีดอกาสที่จะส่งข้อมูลได้และยังสามารถกำหนดความเร่งด่วนของข้อมูลได้ นอกจากนั้นในกรณีที่มีการส่งข้อมูลของสถานีต่างๆมาก ประสิทธิภาพของระบบจะเกือบ100% เนื่องจากจะมีข้อมูลวนอยู่ในเครือข่ายตลอดเวลา และแบบโทเค็นบัสเหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วน(Assembly Line)ซึ่งมีลักษณะเป็นเส้นตรงและต้องการความสามารถในการส่งข้อมูลในเวลาที่กำหนดไว้ ข้อเสียของดทเค็นบัสคือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งสัญญาณทำงานแบบ Analog จึงทำให้ต้องใช้วิศวกรผู้เชี่ยวชาญในการดูแลรักษาระบบ อีกทั้งดปรโตคอลที่ใช้ ค่อนข้างสลับซับซ้อน จึงทำให้อัตราการส่งข้อมูลของระบบไม่สูงนัก นอกจากนั้นแลนแบบนี้ไม่เหมาะสำหรับการใช้เส้นใยแก้วนำแสงเป็นสื่อส่งข้อมูล ด้วยสาเหตุเหล่านี้จึงทำให้แลนแบบToken Busมีการใช้งานน้อย แลน Token Ring นั้นมีการส่งข้อมูลแบบจุดต่อจุดซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ใช้กันมานานและเป็นการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล ทำให้การดุแลรักษาทำได้ไม่ยากนัก สายเคเบิลที่ใช้อาจเป็นได้ทั้งสายคู่Twisted pair สายโคแอ็กเชียลหรือ Fiber optics แต่มาตรฐานกำหนดให้เป็นสายTwisted pair หุ้มฉนวนซึ่งมีน้ำหนักเบาและราคาถูก จึงทำให้การติดตั้งง่าย นอกจากนั้นการใช้ศูนย์รวมสายทำให้แลนแบบนี้สามารถตรวจหาสายเคเบิลตลอดจนอินเทอร์เฟสบอร์ดที่เสียหายได้โดยอัตโนมัติและสามารถผ่านเลยจุดบกพร่องที่เกิดขึ้นได้ ส่วนข้อเสียของโทเคนริงคือ จะต้องมีสถานีที่ทำหน้าที่จัดการดุแลระบบ (Monitor station )ซึ่งหากสถานี นี้เกิดปัญหาจะทำให้การทำงานของแลนผิดพลาด

วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552

บอกข้อดี-ข้อเสีย ของระบบเครือข่าย topology พร้อมออกข้อสอบ 5 ข้อ

ข้อดี-ข้อเสีย
1.topology
รูปแบบของการเชื่อมโยงเครือข่าย หรือโทโปโลยี (LAN Topology)
โทโปโลยีคือลักษณะทางกายภาพ (ภายนอก) ของระบบเครือข่าย ซึ่งหมายถึง ลักษณะของการเชื่อมโยงสายสื่อสารเข้ากับอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ภายในเครือข่ายด้วยกันนั่นเอง โทโปโลยีของเครือข่าย LAN แต่ละแบบมีความเหมาะสมในการใช้งาน แตกต่างกันออกไป การนำไปใช้จึงมีความจำเป็นที่เราจะต้องทำการศึกษาลักษณะและคุณสมบัติ ข้อดีและข้อเสียของโทโปโลยีแต่ละแบบ เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบพิจารณาเครือข่าย ให้เหมาะสมกับการใช้งาน รูปแบบของโทโปโลยี ของเครือข่ายหลัก ๆ มีดังต่อไปนี้
1.โทโปโลยีแบบบัส (BUS)
เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก ที่เรียกว่า BUS หรือ แบ็คโบน (Backbone) คือ สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก ใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเครื่องภายในระบบเครือข่าย และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ซึ่งเรียกว่าโหนด (Node) ข้อมูลจากโหนดผู้ส่งจะถูกส่งเข้าสู่สายบัสในรูปของแพ็กเกจ ซึ่งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบไปด้วยข้อมูลของผู้ส่ง, ผู้รับ และข้อมูลที่จะส่ง การสื่อสารภายในสายบัสจะเป็นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของ บัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ด้านของบัส จะมีเทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) ทำหน้าที่ลบล้างสัญญาณที่ส่งมาถึง เพื่อป้องกันไม่ให้สัญญาณข้อมูลนั้นสะท้อนกลับ เข้ามายังบัสอีก เพื่อเป็นการป้องกันการชนกันของข้อมูลอื่น ๆ ที่เดินทางอยู่บนบัสในขณะนั้น
สัญญาณข้อมูลจากโหนดผู้ส่งเมื่อเข้าสู่บัส ข้อมูลจะไหลผ่านไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของบัส แต่ละโหนดที่เชื่อมต่อเข้ากับบัส จะคอยตรวจดูว่า ตำแหน่งปลายทางที่มากับแพ็กเกจข้อมูลนั้นตรงกับตำแหน่งของตนหรือไม่ ถ้าตรง ก็จะรับข้อมูลนั้นเข้ามาสู่โหนด ตน แต่ถ้าไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้สัญญาณข้อมูลนั้นผ่านไป จะเห็นว่าทุก ๆ โหนดภายในเครือข่ายแบบ BUS นั้นสามารถรับรู้สัญญาณข้อมูลได้ แต่จะมีเพียงโหนดปลายทางเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่จะรับข้อมูลนั้นไปได้


ข้อดี
1. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก
ข้อเสีย
1. อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย
2. การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้

2.โทโปโลยีแบบดาว (STAR)
เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย จะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งที่เรียกว่า ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาญที่มาจากเครื่องต่าง ๆ ในเครือข่าย และควบคุมเส้นทางการสื่อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ต้องการในเครือข่าย เครื่องนั้นก็จะต้องส่งข้อมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือข่ายต่อไป

ข้อดี
1. การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษาทำ ได้ง่าย หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็สามารถตรวจสอบได้ง่าย และศูนย์ กลางสามารถตัดเครื่องที่เสียหายนั้นออกจากการสื่อสาร ในเครือข่ายได้เลย โดยไม่มีผลกระทบกับระบบเครือข่าย
ข้อเสีย
2. เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้เป็น เครื่องศูนย์กลาง หรือตัว HUB เอง และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสายเคเบิลในเครื่องอื่น ๆ ทุกเครื่อง การขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นทำได้ยาก เพราะการขยายแต่ละครั้ง จะต้องเกี่ยวเนื่องกับเครื่องอื่นๆ ทั้งระบบ


4.โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING)
เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเครือข่าย ทั้งเครื่องที่เป็นผู้ให้บริการ( Server) และ เครื่องที่เป็นผู้ขอใช้บริการ(Client) ทุกเครื่องถูกเชื่อมต่อกันเป็นวงกลม ข้อมูลข่าวสารที่ส่งระหว่างกัน จะไหลวนอยู่ในเครือข่ายไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยไม่มีจุดปลายหรือเทอร์มิเนเตอร์เช่นเดียวกับเครือข่ายแบบ BUS ในแต่ละโหนดหรือแต่ละเครื่อง จะมีรีพีตเตอร์ (Repeater) ประจำแต่ละเครื่อง 1 ตัว ซึ่งจะทำหน้าที่เพิ่มเติมข้อมูลที่จำเป็นต่อการติดต่อสื่อสารเข้าในส่วนหัวของแพ็กเกจที่ส่ง และตรวจสอบข้อมูลจากส่วนหัวของ Packet ที่ส่งมาถึง ว่าเป็นข้อมูลของตนหรือไม่ แต่ถ้าไม่ใช่ก็จะปล่อยข้อมูลนั้นไปยัง Repeater ของเครื่องถัดไป

ข้อดี
1. ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปยังผู้รับได้หลาย ๆ เครื่องพร้อม ๆ กัน โดยกำหนดตำแหน่งปลายทางเหล่านั้นลงในส่วนหัวของแพ็กเกจข้อมูล Repeaterของแต่ละเครื่องจะทำการตรวจสอบเองว่า ข้อมูลที่ส่งมาให้นั้น เป็นตนเองหรือไม่
2. การส่งผ่านข้อมูลในเครือข่ายแบบ RING จะเป็นไปในทิศทางเดียวจากเครื่องสู่เครื่อง จึงไม่มีการชนกันของสัญญาณ ข้อมูลที่ส่งออกไป
3. คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน
ข้อเสีย
1.ถ้ามีเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายเสียหาย ข้อมูลจะไม่สามารถส่งผ่านไปยังเครื่องต่อ ๆ ไปได้ และจะทำให้เครือข่ายทั้งเครือข่าย หยุดชะงักได้
2. ขณะที่ข้อมูลถูกส่งผ่านแต่ละเครื่อง เวลาส่วนหนึ่งจะสูญเสียไปกับการที่ทุก ๆ Repeater จะต้องทำการตรวจสอบตำแหน่งปลายทางของข้อมูลนั้น ๆ ทุก ข้อมูลที่ส่งผ่านมาถึง


5.โทโปโลยีแบบ( MESH)
เป็นรูปแบบที่ถือว่า สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด เป็นรูปแบบที่ใช้วิธีการเดินสายของแต่เครื่อง ไปเชื่อมการติดต่อกับทุกเครื่องในระบบเครือข่าย คือเครื่องทุกเครื่องในระบบเครือข่ายนี้ ต้องมีสายไปเชื่อมกับทุก ๆ เครื่อง ระบบนี้ยากต่อการเดินสายและมีราคาแพง จึงมีค่อยมีผู้นิยมมากนัก
ข้อดี
1. ของการเชื่อมต่อแบบเมซคือ การมีเส้นทางสำรองข้อมูล จึงได้มีการประยุกต์ใช้การเชื่อมต่อแบบเมซบางส่วน หรือการเชื่อมต่อแบบเมซที่ไม่สมบูรณ์ กล่าวคือ จะเชื่อมต่อเฉพาะสิ่งที่จำเป็นหรือสำคัญเท่านั้น
ข้อเสีย
2.ก็คือการเชื่อมต่อหลายจุด

แหล่งที่มา
http://www.yupparaj.ac.th

ข้อสอบ 5 ข้อ


1. รูแบบของ topology เครือข่ายหลักๆมีกี่รูปแบบ
ก. 3 ข.4
ค. 5 ง.6
เฉลย ข้อ ค
ได้แก่ 1.โทโปโลยีแบบบัส (BUS) 2.โทโปโลยีแบบดาว (STAR)
3.โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING) 4.โทโปโลยีแบบ (MESH)
5.โทโปโลยีแบบ (Hybrid)(ไม่มีข้อมูลลงบล็อก)



2.Bus มีรูปแบบเป็นอย่างไร
ก.เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก
ข.เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเครือข่าย ทั้งเครื่องที่เป็นผู้ให้บริการ( Server) และ เครื่องที่เป็นผู้ขอใช้บริการ(Client) ทุกเครื่องถูกเชื่อมต่อกันเป็นวงกลม
ค.เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย
ง.เป็นรูปแบบใหม่ ที่เกิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS , RING เข้าด้วยกัน
เฉลย ข้อ ก
Bus คือเป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก ที่เรียกว่า BUS หรือ แบ็คโบน (Backbone) คือ สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก ใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเครื่องภายในระบบเครือข่าย และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ซึ่งเรียกว่าโหนด (Node) ข้อมูลจากโหนดผู้ส่งจะถูกส่งเข้าสู่สายบัสในรูปของแพ็กเกจ ซึ่งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบไปด้วยข้อมูลของผู้ส่ง, ผู้รับ และข้อมูลที่จะส่ง การสื่อสารภายในสายบัสจะเป็นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของ บัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ด้านของบัส จะมีเทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) ทำหน้าที่ลบล้างสัญญาณที่ส่งมาถึง เพื่อป้องกันไม่ให้สัญญาณข้อมูลนั้นสะท้อนกลับ เข้ามายังบัสอีก เพื่อเป็นการป้องกันการชนกันของข้อมูลอื่น ๆ ที่เดินทางอยู่บนบัสในขณะนั้น


3.รูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย เป็นรูปแบบของโทโปโลยี่แบบใด
ก.โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING) ข.โทโปโลยีแบบ (MESH)
ค.โทโปโลยีแบบดาว (STAR) ง.โทโปโลยีแบบ Hybrid
เฉลย ข้อ ค
คือ โทโปโลยีแบบดาว (STAR)เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย จะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งที่เรียกว่า ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาญที่มาจากเครื่องต่าง ๆ ในเครือข่าย และควบคุมเส้นทางการสื่อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ต้องการในเครือข่าย เครื่องนั้นก็จะต้องส่งข้อมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือข่ายต่อไป


4.ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปยังผู้รับได้หลาย ๆ เครื่องพร้อม ๆ กัน โดยกำหนดตำแหน่งปลายทางเหล่านั้นลงในส่วนหัวของแพ็กเกจข้อมูล Repeaterของแต่ละเครื่องจะทำการตรวจสอบเองว่า ข้อมูลที่ส่งมาให้นั้น เป็นตนเองหรือเป็นข้อดีของโทโปโลยี่แบบใด
ก.โทโปโลยีแบบดาว (STAR) ข.โทโปโลยีแบบ (Hybrid)
ค.โทโปโลยีแบบ (MESH) ง. โทโปโลยีแบบดาว (STAR)
เฉลยข้อ ง
คือ โทโปโลยีแบบดาว (STAR) เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย จะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งที่เรียกว่า ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาญที่มาจากเครื่องต่าง ๆ ในเครือข่าย และควบคุมเส้นทางการสื่อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ต้องการในเครือข่าย เครื่องนั้นก็จะต้องส่งข้อมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือข่ายต่อไป


5.ข้อใด รูปแบบใหม่ ที่เกิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS , RING เข้าด้วยกัน
ก.โทโปโลยีแบบ (Hybrid) ข.โทโปโลยีแบบดาว (STAR)
ค.โทโปโลยีแบบ (MESH) ง. โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING)
เฉลย ข้อ ก
คือ โทโปโลยีแบบ (Hybrid) เป็นรูปแบบใหม่ ที่เกิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS , RING เข้าด้วยกัน เพื่อเป็นการลดข้อเสียของรูปแบบที่กล่าวมา และเพิ่มข้อดี ขึ้นมา มักจะนำมาใช้กับระบบ WAN (Wide Area Network) มาก ซึ่งการเชื่อมต่อกันของแต่ละรูปแบบนั้น ต้องใช้ตัวเชื่อมสัญญาญเข้ามาเป็นตัวเชื่อม ตัวนั้นก็คือ Router เป็นตัวเชื่อมการติดต่อกัน

แหล่งที่มา
http://www.yupparaj.ac.th

วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2552

งานชิ้นที่ 1 OS2

คำศัพท์
ความหมาย
1.Physical
2.Backup Power
3.Data Center
4.Harddisk
5.Fire Supperesion
6.Clean Room
7.Unicode
8.Edeidic
9.Baudot Code
10Odd Parity
11Even Parity
12ENQ Enquirg
13Bell
14Backspack
15HT Horizontal Tabulation
16CR Carriage Returm
17SI Shift in
18Discrete
19Morse Code
20Continuous
21Band Width
22Data Code
23Freguency
24Second Conductor
25UP link
26Downlink
27Inner Conduter
28Handheld Telephone
29Mobile Telephone
30Speed
1.ด้านกายภาพ
2.ระบบสำรองไฟฟ้า
3.ตัวเซนเซอร์
4.ฮาร์ดดิสก์
5.ระบบอักคีภัย
6.การกรองฝุ่นละออง
7.รหัสยูนิคโค้ต
8.รหัสเอบซีดิก
9.รหัสโบคอต
10การตรวจจำนวนคู่
11การตรวจจำนวนคี่
12เรียกการตอบสนองจากผู้รับข้อมูล
13เสียงกระดิ่ง
14เสียงเคอร์เซอร์หรือหัวเครื่องพิมพ์
15เลื่อนเคอร์เซอร์หรือตำแหน่งเครื่องพิมพ์ที่ตั้งค่า
16ขึ้นหน้าใหม่ของเครื่องพิมพ์
17กลับมาขนาดมาตรฐาน
18การแยกจากัน
19ข้อมูลแบบมอร์ส
20ข้อมูลที่มีลักษณะต่อเนื่อง
21ความกว้างช่องสัญญาณ
22รหัสข้อมูล
23ความถี่ของสัญญาณ
24สายนำสัญญาณสายที่สอง
25อับลิงค์
26ดาวน์ลิงค์
27สายนำสัญญาณภายใน
28โทรศัพท์มือถือ
29โทรศัพท์เคลื่อนที่
30ความเร็ว
///////////////////////////////////////////


ข้อสอบ
เรื่อง -OSI
-TOPOLOGY
-ประเภทระบบเครือข่ายการสื่อสาร

1.แบบจำลอง OSI จะแบ่งการทำงานขอนระบบเครือข่ายออกเป็นกี่ชั้น
1. 4 ชั้น 2. 5 ชั้น
3. 6 ชั้น 4. 7 ชั้น
ตอบ ข้อ 4
คำอธิบาย แบบจำลอง OSI จะแบ่งการทำงานออกเป็น 7ชั้น ได้แก่ Physical , Data Link ,Network , Transport , Session , Presentetion , Application

2.Layer 7,Application Layer ทำหน้าที่ใด
1.ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ใช้
2.ทำหน้าที่ตกลงกับคอมพิวเตอร์อีกด้านหนึ่งในชั้นเดียวกัน
3.ทำหน้าที่ควบคุมการสื่อสารจากต้นทางไปยังปลายทาง แบบ End to End
4.ทำหน้าที่หลักในการแบ่งข้อมูล
ตอบ ข้อ 1
***มีคำอธิบายอยู่แล้วในคำตอบ***

3. Layer 6,Preaentation Layer ทำหน้าที่ใด
1.ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ใช้
2.ทำหน้าที่ตกลงกับคอมพิวเตอร์อีกด้านหนึ่งในชั้นเดียวกัน
3.ทำหน้าที่ควบคุมการสื่อสารจากต้นทางไปยังปลายทาง แบบ End to End
4.ทำหน้าที่หลักในการแบ่งข้อมูล
ตอบ ข้อ 2
***มีคำอธิบายอยู่แล้วในคำตอบ***




4. . Layer 5,Session Layer ทำหน้าที่ใด
1.ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ใช้
2.ทำหน้าที่ตกลงกับคอมพิวเตอร์อีกด้านหนึ่งในชั้นเดียวกัน
3.ทำหน้าที่ควบคุมการสื่อสารจากต้นทางไปยังปลายทาง แบบ End to End
4.ทำหน้าที่หลักในการแบ่งข้อมูล
ตอบ ข้อ 3
***มีคำอธิบายอยู่แล้วในคำตอบ***

5. Layer 4,TransportLayer ทำหน้าที่ใด
1.มีหน้าที่หลักมนการแบ่งข้อมูล Layer บนให้พอเหมาะกับการจัดส่ง Layer ล่าง
2.ทำหน้าที่ตกลงกับคอมพิวเตอร์อีกด้านหนึ่งในชั้นเดียวกัน
3.ทำหน้าที่ควบคุมการสื่อสารจากต้นทางไปยังปลายทาง แบบ End to End
4.ทำหน้าที่หลักในการแบ่งข้อมูล
ตอบ ข้อ 1
***มีคำอธิบายอยู่แล้วในคำตอบ***
6. Layer 3, Network Layer ทำหน้าที่ใด
1.มีหน้าที่หลักมนการแบ่งข้อมูล Layer บนให้พอเหมาะกับการ
จัดส่ง Layer ล่าง
2.ทำหน้าที่หลักในการส่ง Packet จากเครื่องต้นทางไปให้ถึงปลายทาง
3.ทำหน้าที่ควบคุมการสื่อสารจากต้นทางไปยังปลายทาง แบบ End to End
4.ทำหน้าที่หลักในการแบ่งข้อมูล
ตอบ ข้อ2
***มีคำอธิบายอยู่แล้วในคำตอบ***

7.Topology แบบ Bus จัดอยู่ในรูปแบบใด
1.เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่านสายสัญญาณหลักที่เรียกว่า Bus
2.เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเครือข่ายทั้งเครื่องที่เป็นผู้ให้บริการและเครื่องที่เป็นผู้ข้อให้บริการ
3.เป็นแบบที่เกิดจากการผสมผสานกันระหว่าง Star , Bus , Ring
4.ถูกทุกข้อ
ตอบ ข้อ 1
***มีคำอธิบายอยู่แล้วในคำตอบ***
8.สื่อประเภทกระจายคลื่นเป็นสื่อแบบใด
1.สื่อที่นำมาใช้ในการสื่อสารข้อมูลอีกประเภทหนึ่งซึ่งไม่มีลักษณะทางกายภาพปรากฏให้เห็นแต่อาศัยการแพร่กระจายคลื่นในรูปแบบต่างๆ
2.เป็นสื่อที่มีการแพร่กระจายออกอากาศ
3.เป็นสื่อที่ถ่ายทอดสัญญาณความเร็วสูง
4.ถูกทุกข้อ
ตอบ ข้อ 1
***มีคำอธิบายอยู่แล้วในคำตอบ***

9.Multioncode Graded Index เป็นสายชนิดใด
1.เป็นสายที่มีความเร็วในการทำงานสูงสุด
2.เป็นสายที่มีการอาศัยการสะท้อนแสง
3.เป็นสายชนิดที่ไม่ใช้สารเคลือบที่ผิว
4.ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ ข้อ 3
คำอธิบาย Multioncode Graded Index เป็นสายชนิดที่ไม่ใช้สารเคลือบที่ผิวแต่อาศัยคุณสมบัติที่แตกต่างกันของวัสดุที่นำมาสร้างเป็นสายใยแก้วซึ่งจะมีผลเช่นเดียวกับแบบMutimbde step index
คือช่วยในการสะท้อนแสงจากต้นกำเนิดไปทะลุออกทางปลายสาย

10.สายใยแก้วนำแสงแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
1. 6 ประเภท
2. 5 ประเภท
3. 4 ประเภท
4. 3 ประเภท
ตอบ ข้อ 4
คำอธิบาย สายใยแก้วนำแสงแบ่งออกเป็น 3 ประเภทได้แก่ Multimode Step Index , Multimode Graded Index , Single Model